หน้าหลัก ค้นหา ติดต่อ สมุดโทรศัพท์ การเรียน/การสอน เหตุการณ์ แผนที่เว็บ Thai/Eng
MCU

หน้าหลัก » นายชุติพงศ์ ไตรโลกา
 
เข้าชม : ๒๐๐๑๗ ครั้ง
ศึกษาวิเคระห์รูปแบบการพัฒนาพละ ๕ ในพุทธศาสนาเถรวาท(๒๕๕๐)
ชื่อผู้วิจัย : นายชุติพงศ์ ไตรโลกา ข้อมูลวันที่ : ๒๔/๐๗/๒๐๑๐
ปริญญา : พุทธศาสตรมหาบัณฑิต(พระพุทธศาสนา)
คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ :
  พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร
  อาจารย์รังษี สุทนต์
  อาจารย์รังษี สุทนต์
วันสำเร็จการศึกษา : ๑๑ เมษา ๒๕๕๐
 
บทคัดย่อ

      วิทยานิพนธ์นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในหลักสูตรพุทธศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาพระพุทธศาสนา ซึ่งผู้วิจัยได้นำหลักธรรมพละ ๕ มาศึกษาวิเคราะเพื่อนำเสนอรูปแบบการพัฒนาพละ ๕ อันจะสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางปฎิบัติท่ามกลางสภาพสังคมไทยที่ขาดการพัฒนาทางด้านจิตใจ เพื่อจะนำไปสู่การส้างประโยชน์สุขพร้อมทั้งเป็นการพัฒนายกระดับคุณภาพชืวิตที่ยั้งยือนของคนในสังคมเป็นสำคัญ

ผู้วิจัยได้ตั้งวัดถุประสงค์การศึกษาไว้ ๓ ประการ ด้วยกันคือ ๑) เพื่อศึกษาปัญหาและสาเหตุของการขาดพละ ๕ ในสังคมไทย ๒) เพื่อศึกษาความสำคัญและเป้าหมายของการพัฒนาพละ ๕ และ ๓) เพื่อศึกษาวิเคราะห์รูปแบบการพัฒนาพละ ๕ ในพระพุทธศาสนา
จาการศึกษาพบว่า ปัญหาการขาดพละ ๕ ในสังคมไทยคือ คนในสังคมไทยมีความเชื่อที่ผิด คลากเคลื่อนจากหลักธรรม หรือ ขาดความรู้ความเข้าใจ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับคำสอนและหลักปฏิบัติในพระพุทธศาสนา อยู่ในภาวการขาดศรัทธาที่ถูกต้อง นำไปสู่การปฏิบัติที่หลงทิศผิดทางเช่น การกราบไหว้บนบานสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และ เครื่อรางของขลังต่างๆ ส่งผลกระทบร้ายแรงต่อสังคมและพระพุทธศาสนา เพราะคนในสังสังคมมุ่งให้ความสำคัยของการพัฒนาทางด้านวัตถุคาดหวังความสุขจากการครอบครองทรัพสินและชื่อเสียงเกียรติยศจื่งขาดการพัฒนาทางด้านจิตใจกลายเป็นวิกฤติสังคมและความเสื่อมโทรมในตัวมนุษย์ ซึ่งปัหษฃาและผลกระทบที่เกิดขึ้นนั้นมีสาเหตุมาจากคนตกอยู่ในอำนาจความยั่วยุของกามคุณ เสพอารมณ์ทางหู ตา จมูก ลิ้น กาย ใจ (ค่านิยมในการบริโภควัตถุ)ด้วยความไม่รู้ในอริยสัจสี่ จื่งเกิดความประมาทหลงเพลิดเพลินในกามสุข มองข้ามความสำคัญของการพัฒนา
D
ownload :  255031.pdf
 
 
สงวนลิขสิทธ์โดยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ 
พัฒนาและดูแลโดย : webmaster@mcu.ac.th 
ปรับปรุงครั้งล่าสุดวันพฤหัสบดี ที่ ๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕